shopup.com

ดูบทความประวัติความเป็นมาของ ออกซิเจน

ประวัติความเป็นมาของ ออกซิเจน

ประวัติความเป็นมาของออกซิเจน ตอนที่ 1

ประวัติความเป็นมาของออกซิเจนจากการค้นพบสู่การประยุกต์ใช้ทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรัง มีเรื่องราวมาอย่างยาวนาน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เพียงแค่ช่วงเวลาสั้นๆ ของการค้นพบการใช้ ออกซิเจน ได้ส่งผลกระทบการเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลต่อสิ่งมีชีวิต รวมทั้งขบวนการการหายใจ ตลอดจนการใช้ออกซิเจนในผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรัง อย่างไรก็ตามออกซิเจนถูกใช้มาอย่างยาวนานหลายสิบปี ในยุคสมัยใหม่ นักสรีระวิทยาได้ติดตามธรรมชาติทางเคมีของออกซิเจน และ การตอบสนองทางสรีระภาพต่อเซล การส่งถ่ายแก๊สระหว่างเซลและขบวนการเมตตาบอลิซึม อย่างไรก็ตามการใช้ออกซิเจนสำหรับผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรังยังมีความกังวลของความเป็นพิษของออกซิเจน การใช้ออกซิเจนนอกสถานที่นำไปสู่การติดตามผลของความปลอดภัยและประสิทธิภาพของมัน ถึงแม้ปัจจุบันการใช้ออกซิเจนกับผู้ขาดออกซิเจนได้รับการยอมรับแต่ก็ยังคงมีหลากหลายคำถามที่เกี่ยวข้องกับประโยชน์ของออกซิเจน ในการใช้ที่ระดับความรุนแรงต่างๆ และชนิดของโรคปอดเรื้อรัง

 

บทนำ

คำว่า ออกซิเจน “Oxygen” เป็นการเรียกชื่อที่ผิด หากนำมาใช้ในทางคลินิก จริงๆแล้วต้องแสดงส่วนประกอบว่ามีจำนวนเลขอะตอมเท่ากับ 8 และสัญลักษณ์ “O” แทนที่จะเรียกว่า ออกซิเจน เฉยๆ เหล่าผู้เชียวชาญ (Clinicians) ตั่งใจ ให้ชื่อเรียก Dioxygen ไดออกซิเจน หรือ “O2” ซึ่งเป็นรูปแบบที่เสถียรของธาตุ ออกซิเจน ชื่อ ออกซิเจน ยังเป็นตัวแทนที่ผิด อันเนื่องมาจากรากศัพท์มาจากภาษากรีก “oxys,” แปลว่า แหลม “sharp” อ้างอิงมาจากรสเปรียวของกรด และเป็นข้อสันนิษฐานจาก Lovoisier ว่ามันเป็นส่วนประกอบสำคัญของกรดทุกชนิด และ “-genes” ซึ่งหมายถึง “begetter” (google translateแปลว่า พ่อ ทั้งนี้น่าจะหมายถึงพ่อของทุกกรด)

 

แม้จะมีความผิดพลาดในการเรียกชื่อ แต่คำว่า ออกซิเจน ก็ยังถูกเรียกชื่อใช้งาน (แบบผิดๆ) มาช่วงหลังยุค 18th เพราะว่ามันยังถูกเอ่ยถึงในหนังสือกวีที่มีชื่อเสียง The Botanic Garden (1791)  written by Erasmus Darwin, the grandfather of

Charles Darwin

 

ถึงแม้ว่าท้ายที่สุดจะเป็นที่ยอมรับว่าไม่จำเป็นที่กรดต้องมีออกซิเจน แต่คำว่า ออกซิเจน คือ “begetter” ก็ยังยอมรับกัน ซึ่งแสดงบทบาที่สำคัญสำหรับสิ่งมีชีวิตในโลกนี้ ในเชิญของสะสาร ออกซิเจนถือเป็นธาตุที่มีมากที่สุดอันดับสามของจักรวาล ตามหลังไฮโดรเจนและฮีเลียม ออกซิเจนเป็นส่วนประกอบ 50% ของเปลือกโลก และเป็นส่วนประกอบหนึ่งในสามของร่างกายมนุษย์ เป็นส่วนประกอบในโปรตีน คาร์โบไฮเดรท และไขมัน รวมถึงสวนประกอบอื่นนอกจากเซลเช่น กระดูก และฟัน แต่สิ่งที่น่าสนใจที่สุดสำหรับนักกายภาพและ นักบำบัดทางเดินหายใจ คือหน้าที่ของออกซิเจนในระบบทางเดินหายใจ ออกซิเจนทำตัวเป็นตัวรับสุดท้ายในขบวนการแคตตาบอลิกที่เปลี่ยนแปลง พลังงานชีวเคมี จาก สารอาหารเป็น อดีโนซีนไตรฟอสเฟส (adenosine triphosphate) ซึ่งให้พลังงานกับมนุษย์ เพราะธรรมชาติในการตอบสนองอย่างสูงขออออกซิเจน ออกซิเจนจึงเป็นแหล่งอิเลกตรอนที่มีประสิทธิภาพ หรือ เรียกว่า oxidizing agent แต่การตอบสนองทางธรรมชาติที่เกิด oxides เมื่อออกซิเจนสัมผัสกับธาตุทั้งหมด อธิบายได้ว่าทำไมมันสามารถปรากฏในรูปแบบแก็ซเท่านั้นผ่านทาง 0การกำเนิดโดยขบวนการ photosynthesis ผลตามมาคือ ออกซิเจนถูกแทรกเข้ามาในชั้นบรรยากาศ เริ่มที่จะสะสมเมื่อแค่ 2.5 พันล้านปีก่อน ก่อนกำเนิดสิ่งมีชีวิตประเภทพืช เมื่อขบวนการ photosynthesis เพียงพอจึงก่อให้เกิดโลกใบนี้นะปัจจุบัน (planet)

 

อ้างอิงจาก

The Story of Oxygen

John E Heffner MD

Introduction Discovery Application of Oxygen in Medicine Early Scientific Evidence of Oxygen Benefits in Chronic Lung Disease Multicenter Trials of Long-Term Oxygen Therapy Limitations of Knowledge Oxygen Effects on Brain Function Benefits of LTOT for Pulmonary Hypertension in Severe COPD Red Cell Mass Oxygen Therapy in Mild to Moderate Hypoxia Oxygen Benefits During Exercise Transient Hypercapnia Health-Related Quality of Life Nocturnal Desaturation Oxygen Delivery Oxygen for Chronic Lung Diseases Other Than COPD LTOT and Comorbidities

 

เป็นยังไงบ้างครับสำหรับ part 1 ท่านผู้อ่านสามารถติดตามบทความถัดไปได้จาก part ต่อๆไปในเร็วๆนี้ครับ

23 กรกฎาคม 2561

ผู้ชม 7985 ครั้ง

Engine by shopup.com